วันเสาร์ที่ 13 มีนาคม พ.ศ. 2564

Sociology student monks camped on a high mountain.


 Camp activities at various universities give students the opportunity to learn and do it themselves. To create effective citizenship in the future

Mahachulalongkornrajavidyalaya University itself Which is a university for monks as well Has carried out an activity By focusing on areas that are far away from prosperity and still lack It is barren in many dimensions.

Prof. Dr. Padung Wanthong, Head of Department of Sociology and Anthropology Mahachulalongkornrajavidyalaya University said that the name of the camp is "Sociology Camp, Smiles", organized for the students to use their potential to go to the real area and see the real problem.

And select a remote area like Mae Hong Son Province Which saw that there was still a shortage of school supplies and many consumer items Therefore organized into a variety of camps at the same time By being a building camp, a supplementary camp and an integrated camp The main budget is fundraising, donations, and support.



In this camp, Mae Hong Son Sangha was also joined as the main member. One of the camp activities was to donate water tanks to Baan Kaeng Hom (Karen) School.

Phra Maha Somsak Supamethee, Deputy Dean of Mae Hong Son Province Abbot of Sai Khao Temple, Mae Hi Subdistrict, Pai District, told us that There are still many schools that lack many things. Because these schools are located on the high ground Transportation is very difficult. Electricity requires natural energy to help. The matter of well-being requires self-reliance.

The Sangha was trying to help each other as they should. Because at least it helps fellow human beings to make it easier Although not equal to the flat people But our Sangha itself has never been silent either. This time, some funds were donated and jointly purchased water tanks for schools to use together.


Which Ban Kaeng Hom School (Karen) this It is on a high mountain that is still scarce and obsolete. Causing the teaching and learning to be no less problematic Living life is many times more difficult than a flat person.

Suriyan Jiwong, a member of the Mae Hong Son Provincial Administrative Organization Council, District 3, Pai, said that our Pai district It is famous for being one of the country's top tourism destinations. But at the same time There are still many schools in the highlands of our district that are still very deserted.

The road is mountainous, the journey is difficult and dangerous. Provincial electricity was still unable to access, so hydroelectric power was used. But it still does not seem enough as it should be used economically. Most of the students are ethnic groups, many of them are high on the mountain.

Like Teacher Kesarin Mukham or Beer Teacher Acting Director of Ban Kaeng Hom (Karen) School, Pai District, Mae Hong Son Province said that teachers had to come down to buy food to make lunch for students once a week, on Sunday.


Where students get fresh food only on Monday and Tuesday The days left are dry foods or foods that can be stored for a long time. Because there is no cold food cooler Because that can not be stored in the freezer. Because there is not enough electric energy But it is also good that schools and communities have some crops and vegetables grown.



This activity of the Buddha amulet camp In addition to building and providing facilities for students to use more easily. There is also an academic dialogue on the Sangha Society and the study and development on the highland. And a library was built for Ban Pha Samran School as well Including mobile creative media workshops for teachers and students to take advantage of in presenting the good activities of the high school as well.

Kwanchit Phokrasang : Kuay Cultural Conservation Group of Pho Krasang Subdistrict Report from Ban Kaeng Hom (Karen) School, Mae Hong Son Province



วันอังคารที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2564

ปาย : โลกคนละใบบนพื้นที่ท่องเที่ยว ชวนมาเรียนรู้และช่วยกันหาทางออกกับโรงเรียนเล็กบนพื้นที่สูงด้วยกัน

 


1]

บนโลกที่ความทันสมัยแห่งยุคเทคโนโลยีที่ก้าวไกลไปสุดกู่ และการสื่อสารที่เท่าทันกันหมด และบนโลกในเดียวกันกับผืนดินแค่คนละฟากของจังหวัดก็ยังมีอีกมุมที่เทคโนโลยีการสื่อสารยังเสมือนย้อนไปเมื่อ 20 ปีก่อนที่เราอาจจะต้องสื่อสารกับอีกฝ่ายแล้วรอ 4-5 วันจะมีคำตอบกลับมา



 2]

อำเภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน เป็นอำเภอแห่งการท่องเที่ยวขึ้นชื่อของภาคเหนือที่ใคร ๆ ต่างเข้าใจกันว่าน่าเที่ยวและน่าไปสัมผัสให้ได้ด้วยบรรยากาศและภูมิทัศน์ที่ได้ถูกนำเสนอบนหน้าสื่อผ่านรายการทีวีหรือภาพยนตร์ แต่ทว่าที่อำเภอปาย เช่นเดียวกันก็ยังมีสิ่งที่ชวนคิดต่อว่า ที่แห่งนี้ยังมีสิ่งสวยงามที่รอนักท่องเที่ยวมายลเท่านั้นเองหรือแล้วเรื่องราวอื่น ๆ ล่ะ มีอะไรที่น่าสนใจอีกบ้างหรือไม่

3]

จากพื้นที่เทศบาลตำบลปาย ที่เป็นจุดตั้งของอำเภอปาย (ครอบคลุมพื้นที่บางส่วนของตำบลเวียงใต้) สู่โรงเรียนบ้านแกงหอม (กะเหรี่ยง) ต.เมืองแปง อ.ปาย ระยะทางประมาณ 70 กิโลเมตร (จากคำบอกกล่าวของครูในพื้นที่) หากทว่าค้นหาจากแผนที่หรือในแอพลิเกชัน จะปรากฎให้เส้นทางอ้อมโค้งไปตามหมายเลขทางหลวง 1095 ในระยะทาง 167 กิโลเมตร ทั้ง ๆ ที่อยู่เขตพื้นที่อำเภอเดียวกันคือ “อำเภอปาย”



4]

โรงเรียนบ้านแกงหอม ตั้งอยู่หมู่ที่ 7 ตำบลเมืองแปง อยู่บนพื้นที่สูงและห่างไกล (ไกลมาก) เป็นโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาแม่ฮ่องสอน เขต 1 (สพป.มส.1) มีนักเรียนจำนวน 31 คน มีครูประจำการ 3 คน เป็นโรงเรียนชาติพันธุ์กะเหรี่ยง (เรียกตัวเองว่ากะเหรี่ยง) บริบทอยู่ในพื้นที่ภูเขามีลักษณะเป็นเทือกเขาสูงสลับซับซ้อนเป้นที่ราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนชัน มีความลาดชันประมาณ 35-50 เปอร์เซ็นต์ และมีระดับความสูงจากระดับน้ำทะเลปานกลาง ระหว่าง 700-1600 เมตร ชุมชนประกอบอาชีพเกษตรกรรม ปลูกพืชไร่ เลี้ยงสัตว์ ไม่มีไฟฟ้าส่วนภูมิภาคเข้าถึง ใช้ไฟฟ้าระบบพลังงานน้ำที่ปั่นมาจากที่ต่ำ และมีพลังงานไฟฟ้าแสงอาทิตย์ (แต่เป็นแผงไม่ใหญ่นัก) แหล่งน้ำในระบบน้ำประปาภูเขา (ทั้งอุปโภคและบริโภค)



5]

การเดินทางสามารถใช้รถจักรยานยนต์จะสะดวกที่สุด รถยนต์ควรเป็นรถโฟวิล แม้จะมีถนนเข้าถึงแต่การเดินทางที่มีสภาพขึ้น-ลงภูเขาสลับซับซ้อนและมีโค้งมากมาย ถนนส่วนใหญ่เป็นดินภูเขา คอนกรีตมีเสริมเป็นบางจุดเท่านั้น ใช้ระยะเวลาในการเดินทางแบบคนชำนาญทางในระยเวลา 3 ชั่วโมงจากอำเภอปายสู่โรงเรียนบ้านแกงหอม (หากเป็นเรา ๆ ท่าน ๆ คงต้องบวกการเดินทางไปอีกประมาณ 1 ชั่วโมงหรือมากกว่านั้น) การสื่อสารสัญญาณอินเตอร์เน็ตไม่มีเครือข่ายใดเข้าถึง แต่ทางโรงเรียนได้ประสานใช้ระบบการยิงสัญญาณแบบจุดต่อจุดเพื่อเข้าถึงโรงเรียน

6]

ด้วยสภาพพื้นที่ดังกล่าว การสื่อสารของคณะครูหรือผู้ปกครองไม่ต้องคาดหวังจะได้รับการตอบกลับมาในทันทีทันใด บ่อยครั้งที่การสื่อสารถูกตอบกลับในระยะเวลาเป็นสัปดาห์ไม่ต้องแปลกใจ และหากเป็นช่วงที่ฤดูกาลแห่งพายุหรือมีลมพัดผ่านมาบ้าง อินเตอร์เน็ตก็จะทำหน้าที่ตัดขาดแบบไร้เยื่อใย การเรียนการสอนของที่นี่ พยายามใช้ระบบการเรียนการสอนด้วยครูตู้ DLTV ตามนโยบายของรัฐ ต้องอาศัยสัญญาณอินเตอร์เน็ตเป็นหลัก การทำงานไม่สามารถเปิดคอมพิวเตอร์ตั้งโต๊ะ (PC) ได้ในระยะเวลานานได้ เพราะจะดึงกระแสไฟฟ้าเป็นจำนวนมาก

7]


อาหารของนักเรียน มาจากการปลูกผักภายในโรงเรียนเป็นหลัก และครูต้องใช้งบประมาณที่มี (ที่ได้จากรายหัวนักเรียน)แบบจำกัดจำเขี่ย ลงมาจับจ่ายซื้อในพื้นที่อำเภอปายในเย็นวันศุกร์ เพื่อจะนำไปประกอบอาหารทั้งสัปดาห์ในสัปดาห์ต่อไป อาหารจึงเป็นจำพวกอาหารสดที่ใช้ได้ในระยะเวลาเพียง 2 วัน ส่วน 3 วันทำการที่เหลือจะเป็นอาหารแห้งหรืออาหารที่เก็บไว้ได้ เพราะที่นี่ไม่มีตู้แช่อาหารสดได้ ที่ต้องใช้พลังงานไฟฟ้าเป็นจำนวนมากนั่นเอง


8]

ความงดงามบนพื้นที่สูง นอกเหนือจากบริบทเป็นภูเขาสูงสลับซับซ้อนในฤดูร้อนที่ได้ไปเยือนแล้ว ที่แห่งนี้ไม่มีวัดแต่นับถือศาสนาพุทธและผีบรรพบุรุษ ผู้คนมีสัมมาคารวะนอบน้อมต่อผู้มาเยือน การขาดแคลนนะฤา ไม่รู้จักอธิบายทั้งหมดอย่างไรดี



9]

คณะสงฆ์อำเภอปาย จังหวัดแม่ฮ่องสอน โดยรองเจ้าคณะจังหวัดแม่ฮ่องสอน ร่วมกับภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย อ.วังน้อย จ.พระนครศรีอยุธยา ได้ระดมทุนจากผู้มีศรัทธาจัดกิจกรรมและจัดซื้อถังกักเก็บน้ำขนาด 2,000 ลิตรจำนวน 3 ถังรวมถึงเครื่องกรองน้ำเพื่อมอบให้กับโรงเรียนแห่งนี้ไว้ใช้ประโยชน์เป็นเบื้องต้น

0]

บนโลกที่งดงาม การสื่อสารนำพาให้ผู้คนมารู้จักและสัมผัสความงามแห่งธรรมชาติที่อำเภอปาย แต่ในอำเภอเดียวกันนี้ยังมีสิ่งที่งดงามที่การสื่อสารแทบเข้าไม่ถึงและการเป็นคนกลุ่มน้อย ชาติพันธุ์บนพื้นที่สูงก็ยังมีความเป็นอยู่ที่อัตคัดไม่น้อยเลย ยังรอผู้คนที่มาเยือนร่วมเดินทางขึ้นไปเยี่ยมและสัมผัสอีกกลิ่นอายความเป็นคนด้วยกันในมุมมองของการย้อนไปเมื่อหลายสิบปีก่อนเป็นเช่นไร สัมผัสกลิ่นอายชาติพันธุ์ในมุมโรงเรียนเล็ก ๆ และมีข้างทางแห่งการท้าทายแห่งชีวิต คงเหมาะกับยุคสมัยที่ก้าวไปข้างหน้าอย่างไร้ขีดจำกัดของมุมเล็ก ๆ แห่งประเทศไทยเรา การศึกษาก็เช่นกันรอผู้มีอำนาจขึ้นมายลและเหลียวแล


เพราะที่นี่คือมุมเล็ก ๆ ที่อยากบอกต่อว่าประเทศไทยเรา ยังรอ รอทุกท่านให้กำลังใจและสนับสนุนต่อยอดให้กับหลายชีวิตที่อยู่บนพื้นที่สูง และแกงหอม (กะเหรี่ยง) ที่นี่คงเป็นพื้นที่หนึ่งที่มีแบบนี้เท่านั้น ยังมีอีกหลายพื้นที่ที่รอทุกท่านสัมผัส

.

4-8 มีนาคม 2564 

เรื่อง/ภาพ : ขวัญชิต โพธิ์กระสังข์

วันพฤหัสบดีที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2564

ความยั่งยืนจากการมีส่วนร่วมเพื่อประโยชน์สุขที่ยั่งยืนของบ้านเรา [The way of kuay : วิถีแห่งชาติพันธุ์] 3

The best answer in all matters. Must come out of what the community needs It will lead to sustainability for ourselves.

ความยั่งยืน ควรเป็นสิ่งที่ชุมชนได้ร่วมออกแบบและเรียนรู้ไปกับสิ่งที่ทุกคนต้องการและมีเป้าหมายเดียวกัน เพื่อประโยชน์นั้น ร่วมกัน



เพราะเรื่องน้ำเป็นสิ่งที่จำเป็นสำหรับชุมชน และสถานการณ์ปัจจุบันชาวบ้านต้องช่วยเหลือตัวเองด้วยการเจาะน้ำบาดาลเพื่อใช้สอยเอง แต่ก็ต้องใช้จ่ายเป็นจำนวนมากในการขุดเจาะดังกล่าว และยังมีอีกมากที่ยังอาศัยน้ำประปาที่เป็นส่วนกลางของหมู่บ้าน ซึ่งน้ำประปาก็ยังไม่สะอาดดีพอและยังมีปัญหาพอสมควร แต่ก็ยังดีที่ยังพอมีน้ำให้ได้ใช้อุปโภคได้

Because water is necessary for the community. And the current situation, villagers have to help themselves by drilling groundwater for their own use. But there is a lot of expenditure on the drilling. And there are still many that still rely on the water supply at the center of the village. Which the tap water is still not clean enough and there are still some problems But still good that there is still enough water to be consumed

 

และชุมชนเองก็มีอีกทางเลือกหนึ่งคือการซื้อน้ำจากรถบรรทุกน้ำ ที่บรรทุกน้ำจากการสูบมาจากทุ่งนาหรือบ่อน้ำมาเพื่อจำหน่ายให้คนสนใจ โดยซื้อในราคา 150 บาทต่อหนึ่งเที่ยว (1500 ลิตร)

And the community has another option, to buy water from a water truck. That carries water from being pumped from fields or wells to be distributed to people who are interested Buy at a price of 150 baht per trip (1500 liters).

 

หลายปีที่ผ่านมาที่เห็นการอัตคัดขัดสนเรื่องน้ำ แม้จะรู้และเห็นว่าเป็นปัญหา แต่การจัดการแก้ไขปัญหาก็ยังเป็นเช่นเดิม และนี่แค่เพียงต้นมีนาคมเท่านั้นที่ผู้คนในชุมชนต่างรับรู้ถึงรสชาติแห่งความแห้งแล้งอย่างต่อเนื่อง

The years have seen the poverty in water. Even though he knew and saw that it was a problem But the management of problem solving is still the same And it was only in the beginning of March that the people of the community continually perceived the flavor of the drought.

 

เพราะอยากได้น้ำไว้ใช้ประโยชน์ ข้าพเจ้าเองจึงตัดสินใจปรึกษากับพ่อเพื่อที่จะขุดสระ เพื่อการเกษตรตั้งแต่เมื่อสองปีก่อน (ขุดเมื่อเดือนเมษายน 2562) ซึ่งก็ได้ใช้น้ำในสระดังกล่าวทางการเกษตร รวมถึงได้ตัดสินใจขุดบ่อน้ำ (ชาวอีสานเรียกว่า น้ำสร่าง ชาวกวย เรียกว่าเดื๊อะ ฮือเป๊าะ”) ขุดเองกับมือตัวเองโดยใช้ท่อซีเมนต์ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 120 เมตร สูง 50เซนติเมตร จำนวน 8 ท่อ ซึ่งแน่นอนขุดลึกลงไป 3.5เมตร เพราะปล่อยให้มีท่อลอยอีก 1 ท่อ

Because he wanted water to use So I decided to consult with my father in order to dig a pond. For agriculture two years ago (Digging in April 2019), which used the water in the said pond for agriculture. Including having decided to dig a well (Isaan people call it Nam Sorang, Kuai people call it "Buea Huep") dig by themselves by using cement pipes measuring 120 meters in diameter and 50 centimeters high with 8 pipes, of course, digging 3.5 meters deep because they allow there. 1 more floating pipe

 

บ่อน้ำคือสิ่งหนึ่งในวิถีชีวิตของลูกชาวนา เมื่อมีการทำนาและชาวนาอาศัยนอนที่นาเพื่อดำนาปลูกข้าว น้ำบ่อจึงเป็นสิ่งที่ต้องมีเพราะต้องใช้ดื่มใช้อาบ ผมจึงเห็นว่าอยากย้อนวัยเพื่อเก็บความรู้สึกแห่งวัยนั้นเอาไว้โดยมีวัตถุประสงค์หลักจริง คือ เพราะบ้านเราขาดน้ำ คือน้ำมีไม่เพียงพอ นั่นจึงเป็นเหตุผลที่เป็นคำตอบในการเลือกขุดสระและบ่อน้ำ

The well is one of the farmers' lifestyle. When farming and farmers lay in the fields to cultivate rice. Pond water is a must-have because it has to be used for drinking and bathing. So I saw that I wanted to go back to the age in order to keep the feeling of that age for the main purpose, that is because our house was dehydrated. Is that there is not enough water That is why it is the answer to choosing to dig ponds and wells.

 

และน้ำจากน้ำบ่อนี้ ผมก็กินดื่มและใช้รดน้ำด้วยการขนใส่ภาชนะถังขนาด 200 ลิตร จำนวน 4 ถังและถังบรรทุกขนาด 1,000 ลิตร อีก 1 ถัง ใส่บรรทุกไว้บนรถอีแต๋น หรือชาวกวยเรียกว่ารถตุ๊กตุ๊กผมขนน้ำมาเพื่อใช้ประโยชน์ด้วยเป็นสำนึกอยากใช้ประโยชน์จากสิ่งที่เรามี และไม่เบียดเบียนใครนัก

And the water from this well I ate, drank and watered by carrying 4 containers of 200 liters and one 1,000-liter tank on top of the E-Tan. Or the Kuay people call it "tuk-tuk"

I brought water to use as well, and I wanted to take advantage of what we have. And does not persecute anyone

 

นี่คงเป็นคำตอบสำหรับข้าพเจ้าเองในเบื้องต้นที่เลือกจัดการน้ำของตัวเองเพื่อตัวเอง แต่ยังไม่สามารถบอกได้ว่า น้ำจากบ่อน้ำนี้จะหมดหรือหดหายไปในเมื่อใด เพราะตอนนี้เพียงแค่ต้นเดือนมีนาคมเท่านั้น

 

This is probably the answer for me initially who chose to manage my water for myself. But still can't tell if When will the water from this well run out or shrink? Because now it's only the beginning of March

 By. kwanchit phokrasang

040364

 

วันอังคารที่ 2 มีนาคม พ.ศ. 2564

Water is essential for everything. [The way of kuay:วิถีแห่งชาติพันธุ์] 2

 The way of kuay [วิถีแห่งชาติพันธุ์] 2

Water is essential for everything.

By : Kwanchit phokrasang



.

March is the month of summer for this year in Thailand.

Of course, what will follow is There is a shortage of water that Isaan people will suffer from.

.

ย่างเข้าสู่เดือนมีนาคม ที่เรียกว่าเป็นฤดูร้อนเต็มตัว ความอบอ้าวไม่ได้ลดน้อยลงจากเดือนที่ผ่านมา หากยิ่งร้อนกว่าเดิมด้วยซ้ำ และแน่นอนที่สุด สิ่งที่เราคุ้นชินในฤดูกาลเช่นนี้ ก็คือความแล้ง


ตำบลโพธิ์กระสังข์ อำเภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ เป็นชุมชนชาวกวย,กูย เรียกหรือนิยามคำว่าแล้งเป็นภาษาถิ่นว่าอัด-เดื๊อะหรืออัด-ด๊าอ์ซึ่งคำว่าอัดนี้มีคำเต็มมาจากว่าอัด-ละฮ๊าอ์ที่หมายถึงอดอยาก และคำว่า เดื๊อะ หรือ ด๊าอ์ หมายถึงน้ำ ทั้งสองคำมารวมกัน จึงหมายถึงการขาดแคลนน้ำ คือการอดอยากในเรื่องของการมีน้ำกินน้ำใช้นั่นเอง

  


        การแล้งหรือการไม่มีน้ำใช้ แน่นอนที่สุดว่าทางออกหรือหนทางแก้ไข ไม่ใช่เพียงจะทำได้ในเร็ววันหรือสามารถทำได้ด้วยใครคนหนึ่งคนดหรือหน่วยงานใดเพียงลำพังเป็นแน่ ซึ่งหากจะหาทางออกคือทางรอดที่ยั่งยืนนั้น หนทางของมันคงต้องลงมือคิดและหาคำตอบร่วมกันกับผู้ที่ได้รับผลกระทบแบบมีส่วนร่วมอย่างจริงจัง

การขุดลอกหนอง คลอง หรือสระขนาดใหญ่เพื่อกักเก็บน้ำไว้ใช้ด้วยงบมหาศาลนั้น อาจจะเป็นคำตอบหนึ่งที่ภาครัฐทำเพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว

การขุดเจาะน้ำบาดาลของแต่ละครัวเรือนที่เราพบเจอกันแทบทุกครัวเรือนที่มีพื้นที่ติดกันเพียงรั้วกั้นนั้นก็คือการแก้ปัญหาเพื่อจะได้มีน้ำไว้ใช้ของแต่ครอบครัว แม้กระทั่งการที่มีหน่วยงานภาครัฐนำเครื่องจักกลขนาดใหญ่มาเจาะน้ำบาลให้กับแต่ละชุมชนนั้น ก็ด้วยแก้ปัญหาเรื่องน้ำทั้งสิ้น

   


       แต่ทว่า การแกปัญหาเรื่องน้ำอันเป็นสาเหตุปัญหาปากท้องลำดับต้น สำหรับชาวโพธิ์กระสังข์และชาวอีสานถิ่นอื่น ด้วย อาจจะได้ด้วยหลายวิธีการ หากแต่ว่า วิธีการเหล่านั้น มันคือคำตอบของความยั่งยืนของผู้คนและสิ่งมีชีวิตในชุมชนบ้านเราจริงหรือ

เพราะที่ผ่านมานั้น เราจะสังเกตเห็นว่า การมีส่วนร่วมของชุมชนมีเพียงแค่การบอกว่า แล้ง แล้วรอการช่วยเหลือเสียถ่ายเดียว แต่ยังขาดการมีส่วนร่วมในการคิดหรือออกแบบ หรือร่วมแสดงความคิดเห็นของผู้ที่ได้รับผลกระทบอย่างจริงจัง และเห็นเพียงคำตอบจากหน่วยงานลงมาดำเนินการให้เพียงลำพังเท่านั้นเอง

 


 

พุธ 3 มีนาคม 2564

คณะสังคมศาสตร์

มหาจุฬาลงกรณ์

A month of engagement for people of all ages.[The way of kuay]

The way of Kuay. [วิถีแห่งชาติพันธุ์]

A month of engagement for people of all ages.

บุญเดือนสี่ เดือนแห่งการมีส่วนร่วมของผู้คนทุกช่วงวัยสำหรับชาวกวย

 


 

โดยปกติแล้ว เดือนมีนาคม ซึ่งทางจันทรคติ จัดว่าเป็นเดือนที่สี่ของฮีต 12 คอง 14 ของคนไทยเรา และในเดือนนี้ถือว่าเป็นเดือนที่มีความสำคัญไม่น้อย

.

ชาวกวย,กูย ของตำบลโพธิ์กระสังข์ อำเภอขุนหาญ จังหวัดศรีสะเกษ ก็เช่นกัน มีการดำเนินการจัดงานบุญประเพณีนี้เช่นกันในทุกปี โดยเป็นการรวมตัวกันแบบมีส่วนร่วมของผู้คนทุกคนในชุมชนที่มาร่วมแสดงออกในงานบุญประเพณีนี้ หรือที่เรารู้จักกันดีว่าบุญผะเหวดหรือบุญพระเวสสันดรซึ่งเป็นประเพณีเกี่ยวกับการทำบุญเป็นหลัก โดยยึดเอาสิ่งสมมุติจากเรื่องราวในนิทานชาดกเรื่อง พระเวสสันดร มาเป็นเครื่องยึดถือและปฏิบัติของชาวพุทธเรา ซึ่งชุมชนชาวกวย,กูยเรานั้น ให้ความสำคัญกับการแต่งกายที่เป็นแบบพื้นบ้านทุกระดับ ไม่ว่าเด็กกระทั่งถึงผู้อาวุโส สำหรับผู้ชายนุ่งโสร่ง สำหรับผู้หญิงนุ่งห่มผ้าถุง และแต่งกายสุภาพ เข้าร่วมกิจกรรมกัน รวมถึงมีการฟังเทศน์มหาชาติตลอดทั้งวัน มีการแสดงออกด้วยการละเล่นสมมุติพระเวสสันดร โดยคนในชุมชนเอง

.

นี่ล่ะ เดือนแห่งการมีส่วนร่วมของผู้คนทุกช่วงวัยสำหรับชาวกวยในการเป็นผู้ให้

ทั้งหมดนี้ทุกท่านสามารถพบเห็นการมีส่วนร่วมของผู้คนในชุมชนและการแต่งกายที่เป็นรูปแบบของชนเผ่ากวย/กูยเราในประเพณีดังกล่าวนี้ได้ ถ้าไม่มีการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา (โควิด-19)

.

Usually the lunar month of March Classified as the fourth month Among the traditions of the heat of 12 kong 14 of Thai and Lao people And this month is considered a month that is no less important.

The Kuay / Kui people of Pho Krasang Sub-district, Khun Han District, Sisaket Province which is a tribe of Isan as well

This tradition has been carried out as well every year. It is a gathering with participation of all people in the community who come to express themselves in this merit ceremony. Or as we are well known as "Boonphawed" or "Boon Phra Vessantara", which is the main tradition of making merit. By using the fictional from the story in the Jataka fable of Vessantara as a reference and practice of our Buddhists

Which our Kuay / Kui community has given importance to the dress that is folk at all levels. From children to elders For men wearing sarongs

For women wearing silk And dress modestly Join the activity together Including listening to the Mahachat sermons throughout the day There is an expression of a Vessantara skit. By the people in the community themselves

This is a participatory month for people of all ages for the Kuai people to be the giver.

 

All in all, you can see the participation of the people in the community and the traditional Kuay / Kui tribe dress in this tradition.

If there is no coronavirus (COVID-19) outbreak.

.

นี่คงเป็นความเป็นกวย,กูยที่อยู่ในสายเลือด ที่คิดว่าคนไทยหรือคนทั่วโลกอาจจะไม่รู้ว่า กวย,กูยคือใคร แล้วมีอะไรอยู่ที่ไหนกันบ้าง...!

.

จะพยายามหาคำตอบในรูปแบบที่พอหาได้และทำได้มาเก็บรวบรวมไว้

 

By : Kwanchit phokrasang








ทุ่งกะบาลกะไบแห่งเทือกเขาพรมแดนไทย-กัมพูชา พื้นที่เปิดแห่งใหม่เหมาะกับนักเดินทางและนักประวัติศาสตร์

“บุญ” ต้องฟรี วัดไตรสามัคคี’ จ.ศรีสะเกษ ติดป้ายชัดเจน ทำบุญที่นี่ “ฟรี” ไม่เสียตังค์ [มีคลิป]

ที่วัดไตรสามัคคี ต.โดด อ.โพธิ์ศรีสุวรรณ จ.ศรีสะเกษ เป็นวัดท่องเที่ยวเชิงพุทธอีกแห่งของจังหวัดศรีสะเกษ ที่กำลังเป็นที่นิยมในการทำบุญของพุทธศา...